skip to Main Content

FAQ

Thai Beverage Industry Association

รวบรวมคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย

ถาม-ตอบ
ข้อมูลที่น่าสนใจ

ได้ยินมาว่าน้ำอัดลม ทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมที่จำเป็นต่อการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง จึงเป็นสามาเหตุของโรคกระดูกพรุนและภาวะกระดูเปราะ การดื่มน้ำอัดลมเป็นการทำลายกระดูก จริงหรือไม่

ไม่ การบริโภคน้ำอัดลม ไม่ได้ทำให้กระดูกเปราะบางหรือก่อให้เกิดโรคกระดูกพรุนแต่อย่างใด สาเหตุหลักที่ทำให้กระดูกไม่แข็งแรง ได้แก่ การได้รับแคลเซียมจากการบริโภคอาหารไม่เพียงพอ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก) การขาดวิตามินดี การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในเพศหญิง และการขาดการมีกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายที่ร่างกายต้องแบกรับน้ำหนักต้านกับแรงโน้มถ่วง (Weight-Bearing) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้ร่างกายเกิดการเสริมสร้างมวลกระดูก เมื่อปีพ.ศ. 2549 มูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติ (International Osteoporosis Foundation) ได้ตีพิมพ์ การประมวลผลการศึกษาเกี่ยวกับโภชนาการและสุขภาพกระดูก โดยเนื้อหาส่วนหนึ่งระบุว่า “มีความกังวลกันว่าการบริโภคน้ำอัดลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำอัดลมประเภทโคล่า อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก แม้จะมีรายงานการศึกษาเชิงสังเกต (observational studies) 2-3 ชิ้นที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการบริโภคน้ำอัดลมในปริมาณมาก กับความหนาแน่นของมวลกระดูก (Bone Mineral Density: BMD) ที่ลดลงหรืออัตราการเกิดกระดูกหักที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น แต่ก็ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใดๆ ที่สามารถสรุปได้ว่าเครื่องดื่มเหล่านี้ส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก” ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: http://testsite.iofbonehealth.org/docs/health-professionals/about-osteoporosis/prevention/nutrition/negative-dietary-factors-and-practices.html (สืบค้นครั้งสุดท้ายเมื่อ 26 พ.ย.2555)

สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย จัดตั้งขึ้นเพื่อ?

  1. เพื่อสนับสนุน ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาอุปสรรค ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของสมาชิก รวมถึงการเจรจากับองค์กรภาครัฐ และองค์กรภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
  2. เพื่อร่วมกันทำกิจกรรมที่สร้างเสริมประโยชน์ต่อสังคม
  3. เพื่อทำกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
  4. เป็นศูนย์กลางความร่วมมือระหว่างสมาชิกในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม เป็นสื่อกลางการประสานงานกับภาครัฐ และองค์กรเอกชนอื่น ๆ เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
  5. เป็นตัวแทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องดื่มในการประชาสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ ต่อสาธารณะ
  6. เป็นตัวแทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องดื่มในการเข้าร่วมประชุมกับหน่วย

จะโทษว่าน้ำอัดลม เป็นสามเหตุของโรคอ้วนได้หรือไม่

คนเราบริโภคอาหารและเครื่องดื่มหลากหลายประเภท ดังนั้น จึงไม่อาจกล่าวได้ว่าอาหารหรือเครื่องดื่มชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียวเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนได้ พลังงานทุกแคลอรี่ที่ร่างกายได้รับจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิด ล้วนแต่ส่งผลต่อร่างกายในลักษณะเดียวกัน ซึ่งรวมถึงพลังงานจากการบริโภคน้ำอัดลมด้วย การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็นผลจากการที่ร่างกายได้รับพลังงานจากการบริโภคสูงกว่าที่ร่างกายใช้ไปในกระบวนการเผาผลาญอาหารและการมีกิจกรรทางกาย ทางสถาบันโภชนาการและการกำหนดอาหาร (Academy of Nutrition and Dietetics) ของสหรัฐอเมริกา ได้ระบุไว้ว่า อาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดสามารถเป็นส่วนหนึ่งของแบบแผนการบริโภคที่สมดุลได้ ตราบเท่าที่บุคคลสามารถรักษาปริมาณพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคให้ไม่สูงไปกว่าปริมาณพลังงานที่ใช้ไปในแต่ละวัน ดู

รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: http://www.journals.elsevierhealth.com/periodicals/yjada/article/S0002-8223(07)00749-3/abstract (สืบค้นครั้งสุดท้ายเมื่อ 26 พ.ย.2555)

ได้ยินมาว่าน้ำอัดลม ทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมที่จำเป็นต่อการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง จึงเป็นสามาเหตุของโรคกระดูกพรุนและภาวะกระดูเปราะ การดื่มน้ำอัดลมเป็นการทำลายกระดูก จริงหรือไม่

ไม่ การบริโภคน้ำอัดลม ไม่ได้ทำให้กระดูกเปราะบางหรือก่อให้เกิดโรคกระดูกพรุนแต่อย่างใด สาเหตุหลักที่ทำให้กระดูกไม่แข็งแรง ได้แก่ การได้รับแคลเซียมจากการบริโภคอาหารไม่เพียงพอ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก) การขาดวิตามินดี การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในเพศหญิง และการขาดการมีกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายที่ร่างกายต้องแบกรับน้ำหนักต้านกับแรงโน้มถ่วง (Weight-Bearing) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้ร่างกายเกิดการเสริมสร้างมวลกระดูก เมื่อปีพ.ศ. 2549 มูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติ (International Osteoporosis Foundation) ได้ตีพิมพ์ การประมวลผลการศึกษาเกี่ยวกับโภชนาการและสุขภาพกระดูก โดยเนื้อหาส่วนหนึ่งระบุว่า “มีความกังวลกันว่าการบริโภคน้ำอัดลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำอัดลมประเภทโคล่า อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก แม้จะมีรายงานการศึกษาเชิงสังเกต (observational studies) 2-3 ชิ้นที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการบริโภคน้ำอัดลมในปริมาณมาก กับความหนาแน่นของมวลกระดูก (Bone Mineral Density: BMD) ที่ลดลงหรืออัตราการเกิดกระดูกหักที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น แต่ก็ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใดๆ ที่สามารถสรุปได้ว่าเครื่องดื่มเหล่านี้ส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก” ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: http://testsite.iofbonehealth.org/docs/health-professionals/about-osteoporosis/prevention/nutrition/negative-dietary-factors-and-practices.html (สืบค้นครั้งสุดท้ายเมื่อ 26 พ.ย.2555)

FAQ

Thai Beverage Industry Association

รวบรวมคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย

ถาม-ตอบ
ข้อมูลที่น่าสนใจ

สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย จัดตั้งขึ้นเพื่อ?

  1. เพื่อสนับสนุน ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาอุปสรรค ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของสมาชิก รวมถึงการเจรจากับองค์กรภาครัฐ และองค์กรภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
  2. เพื่อร่วมกันทำกิจกรรมที่สร้างเสริมประโยชน์ต่อสังคม
  3. เพื่อทำกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
  4. เป็นศูนย์กลางความร่วมมือระหว่างสมาชิกในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม เป็นสื่อกลางการประสานงานกับภาครัฐ และองค์กรเอกชนอื่น ๆ เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
  5. เป็นตัวแทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องดื่มในการประชาสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ ต่อสาธารณะ
  6. เป็นตัวแทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องดื่มในการเข้าร่วมประชุมกับหน่วย

จะโทษว่าน้ำอัดลม เป็นสามเหตุของโรคอ้วนได้หรือไม่

คนเราบริโภคอาหารและเครื่องดื่มหลากหลายประเภท ดังนั้น จึงไม่อาจกล่าวได้ว่าอาหารหรือเครื่องดื่มชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียวเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนได้ พลังงานทุกแคลอรี่ที่ร่างกายได้รับจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิด ล้วนแต่ส่งผลต่อร่างกายในลักษณะเดียวกัน ซึ่งรวมถึงพลังงานจากการบริโภคน้ำอัดลมด้วย การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็นผลจากการที่ร่างกายได้รับพลังงานจากการบริโภคสูงกว่าที่ร่างกายใช้ไปในกระบวนการเผาผลาญอาหารและการมีกิจกรรทางกาย ทางสถาบันโภชนาการและการกำหนดอาหาร (Academy of Nutrition and Dietetics) ของสหรัฐอเมริกา ได้ระบุไว้ว่า อาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดสามารถเป็นส่วนหนึ่งของแบบแผนการบริโภคที่สมดุลได้ ตราบเท่าที่บุคคลสามารถรักษาปริมาณพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคให้ไม่สูงไปกว่าปริมาณพลังงานที่ใช้ไปในแต่ละวัน ดู

รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: http://www.journals.elsevierhealth.com/periodicals/yjada/article/S0002-8223(07)00749-3/abstract (สืบค้นครั้งสุดท้ายเมื่อ 26 พ.ย.2555)

ได้ยินมาว่าน้ำอัดลม ทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมที่จำเป็นต่อการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง จึงเป็นสามาเหตุของโรคกระดูกพรุนและภาวะกระดูเปราะ การดื่มน้ำอัดลมเป็นการทำลายกระดูก จริงหรือไม่

ไม่ การบริโภคน้ำอัดลม ไม่ได้ทำให้กระดูกเปราะบางหรือก่อให้เกิดโรคกระดูกพรุนแต่อย่างใด สาเหตุหลักที่ทำให้กระดูกไม่แข็งแรง ได้แก่ การได้รับแคลเซียมจากการบริโภคอาหารไม่เพียงพอ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก) การขาดวิตามินดี การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในเพศหญิง และการขาดการมีกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายที่ร่างกายต้องแบกรับน้ำหนักต้านกับแรงโน้มถ่วง (Weight-Bearing) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้ร่างกายเกิดการเสริมสร้างมวลกระดูก เมื่อปีพ.ศ. 2549 มูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติ (International Osteoporosis Foundation) ได้ตีพิมพ์ การประมวลผลการศึกษาเกี่ยวกับโภชนาการและสุขภาพกระดูก โดยเนื้อหาส่วนหนึ่งระบุว่า “มีความกังวลกันว่าการบริโภคน้ำอัดลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำอัดลมประเภทโคล่า อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก แม้จะมีรายงานการศึกษาเชิงสังเกต (observational studies) 2-3 ชิ้นที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการบริโภคน้ำอัดลมในปริมาณมาก กับความหนาแน่นของมวลกระดูก (Bone Mineral Density: BMD) ที่ลดลงหรืออัตราการเกิดกระดูกหักที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น แต่ก็ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใดๆ ที่สามารถสรุปได้ว่าเครื่องดื่มเหล่านี้ส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก” ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: http://testsite.iofbonehealth.org/docs/health-professionals/about-osteoporosis/prevention/nutrition/negative-dietary-factors-and-practices.html (สืบค้นครั้งสุดท้ายเมื่อ 26 พ.ย.2555)

ได้ยินมาว่าน้ำอัดลม ทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมที่จำเป็นต่อการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง จึงเป็นสามาเหตุของโรคกระดูกพรุนและภาวะกระดูเปราะ การดื่มน้ำอัดลมเป็นการทำลายกระดูก จริงหรือไม่

ไม่ การบริโภคน้ำอัดลม ไม่ได้ทำให้กระดูกเปราะบางหรือก่อให้เกิดโรคกระดูกพรุนแต่อย่างใด สาเหตุหลักที่ทำให้กระดูกไม่แข็งแรง ได้แก่ การได้รับแคลเซียมจากการบริโภคอาหารไม่เพียงพอ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก) การขาดวิตามินดี การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในเพศหญิง และการขาดการมีกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายที่ร่างกายต้องแบกรับน้ำหนักต้านกับแรงโน้มถ่วง (Weight-Bearing) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้ร่างกายเกิดการเสริมสร้างมวลกระดูก เมื่อปีพ.ศ. 2549 มูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติ (International Osteoporosis Foundation) ได้ตีพิมพ์ การประมวลผลการศึกษาเกี่ยวกับโภชนาการและสุขภาพกระดูก โดยเนื้อหาส่วนหนึ่งระบุว่า “มีความกังวลกันว่าการบริโภคน้ำอัดลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำอัดลมประเภทโคล่า อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก แม้จะมีรายงานการศึกษาเชิงสังเกต (observational studies) 2-3 ชิ้นที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการบริโภคน้ำอัดลมในปริมาณมาก กับความหนาแน่นของมวลกระดูก (Bone Mineral Density: BMD) ที่ลดลงหรืออัตราการเกิดกระดูกหักที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น แต่ก็ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใดๆ ที่สามารถสรุปได้ว่าเครื่องดื่มเหล่านี้ส่งผลเสียต่อสุขภาพกระดูก” ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: http://testsite.iofbonehealth.org/docs/health-professionals/about-osteoporosis/prevention/nutrition/negative-dietary-factors-and-practices.html (สืบค้นครั้งสุดท้ายเมื่อ 26 พ.ย.2555)

Back To Top